สัมภาษณ์พิเศษ ศูนย์ข่าวภาคใต้
-
อนุศาสตร์ สุวรรณมงคล : คนชายแดนใต้ไม่อยากเป็นหนูทดลอง "ปกครองพิเศษ"
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 18 สิงหาคม 2554 เวลา 00:34 น.เขียนโดยนาซือเราะ เจะฮะ, อับดุลเลาะ หวังหนิยังคงมีความเห็นอย่างหลากหลายเกี่ยวกับนโยบายดับไฟใต้โดยใช้แนวทางจัดการปกครองท้องถิ่นรูปแบบใหม่ ซึ่งพรรคเพื่อไทยเสนอโมเดล “นครปัตตานี” ส่วนเครือข่ายภาคประชาสังคมในพื้นที่เสนอ “ปัตตานีมหานคร”
-
มันโซร์ สาและ : ทวงสัญญารัฐบาลใหม่เดินหน้ากระจายอำนาจ-ดัน"ปัตตานีมหานคร"
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 10 สิงหาคม 2554 เวลา 09:07 น.เขียนโดยนาซือเราะ เจะฮะ, อับดุลเลาะ หวังหนิ“รัฐจะต้องให้ความเป็นอิสระแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น และส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำบริการสาธารณะ และมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแก้ไขปัญหาในพื้นที่ ท้องถิ่นใดมีลักษณะที่จะปกครองตนเองได้ ย่อมมีสิทธิจัดตั้งเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ”
-
อดีตทหารวิพากษ์ "การเมืองนำการทหาร" ไม่เวิร์ค! - ปกครองพิเศษเร็วไป!
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 29 กรกฎาคม 2554 เวลา 10:56 น.เขียนโดยณัฐนันท์ อิทธิยาภรณ์, ปกรณ์ พึ่งเนตรปัญหาของจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ปะทุความรุนแรงรอบใหม่ในรูปแบบการก่อเหตุร้ายรายวันที่ยืดเยื้อยาวนานมากว่า 7 ปี ทำให้หลายฝ่ายตั้งคำถามถึง “ยุทธศาสตร์ดับไฟใต้” ว่าถูกต้องตรงตามสมมติฐาน ถูกทิศถูกทาง และถูกฝาถูกตัว ตามที่รัฐบาลและฝ่ายความมั่นคงกล่าวอ้างมาตลอดหรือไม่
-
ถาวร เสนเนียม : ชายแดนใต้วันนี้เป็น "เขตปกครองพิเศษ" อยู่แล้ว
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 22 กรกฎาคม 2554 เวลา 00:40 น.เขียนโดยยศวดี หงษ์ทองนอกจากนโยบายหาเสียงของพรรคเพื่อไทยเรื่อง "ค่าแรงขั้นต่ำวันละ 300 บาท" และ "เงินเดือนปริญญาตรี 15,000 บาท" ที่กำลังถูกตั้งคำถามอย่างกว้างขวางแล้ว นโยบายอีกด้านหนึ่งที่เป็นเสมือน "แผลเป็น" รักษาไม่หายของพรรคเพื่อไทยตั้งแต่สมัยยังใช้ชื่อพรรคไทยรักไทยก็คือ นโยบายแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
-
สามคำถามสำคัญ...สาเหตุที่ไม่ควรเร่งดัน "นครปัตตานี"
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 14 กรกฎาคม 2554 เวลา 00:54 น.เขียนโดยสมศักดิ์ หุ่นงามยังคงเป็นประเด็นถกเถียงกันทั่วไปทั้งในและนอกสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เกี่ยวกับการผลักดันนโยบาย “ดับไฟใต้” ของว่าที่รัฐบาลชุดใหม่ที่น่าจะนำโดยพรรคเพื่อไทย ว่าจะเดินหน้ากันอย่างไรกับจุดขายที่เคยหาเสียงเอาไว้ คือ “นครปัตตานี” หรือการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่ให้รวมพื้นที่สามจังหวัด คือปัตตานี ยะลา และนราธิวาส เป็นเขตปกครอง แล้วให้ประชาชนเลือกตั้ง “ผู้ว่าการนคร” โดยตรง
-
คำฝากจากปลายขวานถึงว่าที่นายกฯใหม่
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 09 กรกฎาคม 2554 เวลา 07:43 น.เขียนโดยเลขา เกลี้ยงเกลา, นาซือเราะ เจะฮะการเลือกตั้งใหญ่ที่เพิ่งจะผ่านพ้นไปก่อให้เกิดสิ่งใหม่ๆ และท้าทายขึ้นในบ้านเมืองหลายประการ โดยเฉพาะการมีว่าที่นายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกในประวัติศาสตร์ด้วยวัยเพียง 44 ปี และทำงานการเมืองจริงๆ แค่ไม่ถึง 8 สัปดาห์ แต่กลับต้องเข้ามาแบกรับสถานการณ์ที่เต็มไปด้วยปัญหาในห้วงเวลาเปลี่ยนผ่านครั้งสำคัญของประเทศ
-
"โคทม"สวดนักการเมืองพูดแต่เรื่องเฉพาะหน้า เมินปัญหาโครงสร้าง "ไฟใต้-ความเป็นธรรม"
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 02 กรกฎาคม 2554 เวลา 12:06 น.เขียนโดยเลขา เกลี้ยงเกลาเมื่อไม่นานมานี้ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดเวทีสานเสวนาเรื่อง "พลเมืองกับการเลือกตั้งที่เที่ยงธรรมสู่การดับไฟใต้" ที่โรงแรมซี.เอส. ปัตตานี เพื่อหวังขับเคลื่อนนโยบายดับไฟใต้ที่สอดคล้องกับความต้องการของคนในพื้นที่ และนำไปสู่การปฏิบัติได้จริง โดยอาศัยช่วงจังหวะที่พรรคการเมืองกำลังรณรงค์หาเสียงและให้สัญญาประชาคมกับพี่น้องประชาชนเป็นแรงบวก
-
ฟังขุนพลเพื่อไทยอรรถาธิบาย "นครปัตตานี"
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 29 มิถุนายน 2554 เวลา 08:32 น.เขียนโดยแวลีเมาะ ปูซู, สมศักดิ์ หุ่นงามสนามเลือกตั้งสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ แม้จะมี ส.ส.ในระบบแบ่งเขตเพียง 11 ที่นั่ง แต่พรรคการเมืองกว่าสิบพรรคก็ประกาศตัวและขับเคี่ยวแข่งขันกันอย่างถึงพริกถึงขิง โดยเฉพาะสองพรรคใหญ่อย่างพรรคประชาธิปัตย์กับพรรคเพื่อไทย ซึ่งเดิมพันไม่ใช่แค่อำนาจบริหาร ณ ตึกไทยคู่ฟ้า ทำเนียบรัฐบาลเท่านั้น แต่ยังหมายถึงแนวนโยบายดับไฟใต้ที่แตกต่างกันชนิดหน้ามือกับหลังมืออีกด้วย
-
แม่ทัพภาคใต้ ปชป. "นิพนธ์ บุญญามณี" เมินนครปัตตานี ยัน ศอ.บต.ดีที่สุด
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 15 มิถุนายน 2554 เวลา 14:53 น.เขียนโดยอับดุลเลาะ หวังหนิสนามเลือกตั้งสามจังหวัดชายแดนภาคใต้คงมิอาจมองข้ามความแข็งแกร่งของพรรคประชาธิปัตย์ แม้การเลือกตั้งเที่ยวล่าสุดเมื่อปี 2550 พรรคจะได้ ส.ส.มาเพียง 5 ที่นั่งจาก 11 ที่นั่ง ลดฮวบจาก 9 ที่นั่งใน 10 ที่นั่งเมื่อการเลือกตั้งปี 2548 แต่ถึงกระนั้นพรรคประชาธิปัตย์ก็ยังถือว่ามี ส.ส.มากที่สุดในพื้นที่นี้
-
เสียงคนเล็กคนน้อยชายแดนใต้...ไม่เชื่อนโยบายขายฝันนักการเมือง
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 04 มิถุนายน 2554 เวลา 10:21 น.เขียนโดยอับดุลเลาะ หวังหนิในห้วงเวลาที่ปี่กลองเลือกตั้งเริ่มอึกทึก พรรคการเมืองกำลังคึกเรียงแถวกันออกมาเสนอนโยบายมัดใจชาวบ้าน แน่นอนว่าการแก้ไขสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ย่อมเป็น "วาระแห่งชาติ" ประการหนึ่งที่หลายพรรคชูขึ้นเป็นประเด็นหาเสียงเพื่อแย่งชิงเก้าอี้ ส.ส. 11 ที่นั่งในสามจังหวัดปลายสุดด้ามขวาน