ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
-
กุมขมับวิกฤต ‘ภัยแล้ง’ กระทบโครงสร้างสาธารณะ ‘ถนน’ ทรุด
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 12 กรกฎาคม 2558 เวลา 08:01 น.เขียนโดยอชิรวิทย์ เฮงทวีทรัพย์วิกฤตการณ์ภัยแล้งส่งผลหนัก กระทบระบบเศรษฐกิจ-คุณภาพชีวิต สกว.เผยการจัดการโครงสร้างสาธารณะล้มเหลวตั้งแต่อดีต นโยบายแก้น้ำท่วมต้นตอตลิ่งถล่ม แนะรัฐบาลเรียนรู้ไปปรับใช้ในอนาคต
-
ล่องเจ้าพระยาไปกับ Friend of River หยุดโครงการพัฒนาริมน้ำ
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 04 กรกฎาคม 2558 เวลา 08:37 น.เขียนโดยนันท์นภัส พิศาลคณาวัฒน์“คณะรัฐมนตรีต้องมีสำนึกในการดูเรื่องผลกระทบสำหรับโครงการพัฒนาริมแม่น้ำเจ้าพระยาก่อน ต้องให้มีการศึกษาให้ผ่าน รวมถึง กทม.เองควรที่จะทำหน้าที่บนความรับผิดชอบต่อสังคม”
-
ฟังเสียงคนริมน้ำ ก่อนหันหลังให้แม่น้ำ ผลกระทบจากโครงการพัฒนา
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 08 มิถุนายน 2558 เวลา 09:00 น.เขียนโดยthaireform -
สยามกรีนสกาย ไลฟ์สไตล์เกษตรกรรมใหม่กลางใจเมือง
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 01 มิถุนายน 2558 เวลา 07:30 น.เขียนโดยthaireformจากพื้นที่เกษตรกรรมของกรุงเทพมหานครที่ถูกพัฒนามาสู่ความเป็นเมือง ทุกพื้นที่เต็มไปด้วยตึกรามบ้านช่อง และผืนคอนกรีตที่ปกคลุมผืนดินกว่า 70% ส่งผลกระทบต่อปริมาณหน้าดินที่เคยซึมได้อีกทั้งปัญหาระบบนิเวศเมืองในองค์รวม ซึ่งนี่คือที่มาของปัญหาน้ำท่วมหนักที่เมืองหลวงแห่งนี้ต้องประสบ และสิ่งที่กำลังตามมาอีกหนึ่งปัญหาของคนกรุง คือเรื่องความมั่นคงทางด้านอาหาร ดังนั้นแนวคิดการหันมาปลูกผักบนสวนหลังคาจึงเป็นเสมื ...
-
ศิลปินชาวลาวสร้างศิลปะเรียกร้องมนุษย์ร่วมปกป้องทะเลไทย
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 27 เมษายน 2558 เวลา 08:44 น.เขียนโดยมณนิสา แท่งทอง“ผมต้องการสะท้อนให้เห็นว่า หากเราไม่ทำอะไรสักอย่างเพื่อหยุดปัญหาขยะในท้องทะเล วันหนึ่งปลาและสัตว์น้ำทุกชนิดจะได้รับสารพิษปนเปื้อนและแหวกว่ายท่ามกลางกองขยะ”
-
ถอดบทเรียน 10 ปี รัฐทุ่มงบฯ 3.3 พันล.ทำเขตป่า ทำไมเสี่ยงสูงจะล้มเหลว ?
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 01 มีนาคม 2558 เวลา 08:52 น.เขียนโดยthaireformการดำเนินกิจกรรมปรับปรุงแนวเขตพื้นที่ป่าไม้ในอดีต จนถึงปัจจุบันยังไม่สามารถดำเนินการให้บรรลุผลสำเร็จได้ บางโครงการเกิดความล้มเหลว หรือมีความเสี่ยงสูงจะไม่บรรลุผลสำเร็จ ข้างต้น คือข้อตรวจพบ จากรายงานการตรวจสอบการดำเนินงาน การจัดทําแนวเขตในพื้นที่ป่าไม้ ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาสําคัญระดับโลกโดยเฉพาะด้านป่าไม้ ซึ่งปัจจุบันมีจํานวนป่าไม้ลดลงอย่างต่อเนื่อง ...
-
เหตุโคลนเทียมผุด อภัยภูเบศรสรุปสมุนไพรเสียหายกว่า 80 ชนิด
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 30 มกราคม 2558 เวลา 21:14 น.เขียนโดยthaireform"เรารู้จักเบนโทไนท์เป็นอย่างดี จากข้อมูลที่ให้มา เราสามารถดูแลแปลงสมุนไพรของเราได้ โดยที่ปตท.ไม่จำเป็นต้องเข้ามาในพื้นที่ เนื่องจากสมุนไพรเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน ต้องได้รับการดูแลด้วยความระมัดระวัง ประกอบกับเมื่อได้เห็นกระบวนการทำความสะอาดของปตท.จากพื้นที่ ข้างเคียงแล้ว เรายิ่งมั่นใจว่า เราควรจะได้ทำการกำจัดผลกระทบจากเบนโทไนท์ด้วยตนเองจะเป็น การเหมาะสมกว่า” ภาพการกำจัดโคลนเทียมในพื้นที่ข้างเคียง ...
-
ภาพปฏิบัติการ 'โค่น' ยางของเรา (ต้นแรก) บนเทือกเขาบูโด
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 25 มกราคม 2558 เวลา 21:13 น.เขียนโดยthaireformเช้าวันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม 2558 เครือข่ายการแก้ปัญหาที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัยเทือกเขาบูโด นัดรวมพลกัน ณ มัสยิด บ้านมาแฮ ตำบลปาลุกาสาเมาะ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส ปฏิบัติการตัดต้นยาง แสดงสัญลักษณ์ หวังกระตุ้นให้รัฐเข้ามาแก้ปัญหาความเดือดร้อนของชาวบ้านที่เกิดขึ้น ณ อุทยานเทือกเขาบูโด โดยเฉพาะการประกาศที่ดินทำกิน ซึ่งเป็นปัญหาที่ยืดเยื้อ และเรื้อรังมาตั้งแต่ 2508 นับตั้งแต่มีการประกาศตั้งเป็นเข ...
-
จำได้ไหม! บิ๊กป๊อก พี่น้องบูโดทวงสัญญาไฟเขียวให้ตัดยางได้ 4% ของพื้นที่
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 22 มกราคม 2558 เวลา 12:38 น.เขียนโดยthaireform"เราเดือดร้อนยางพาราหมดอายุแล้ว ใช้ประโยชน์ไม่ได้ ทำมาหากินไม่ได้ เราจะโค่น จะประกาศอะไรก็แล้วแต่ ถูกจับก็จับไป เราเตรียมคนไว้แล้ว 2,000 คน ถ้าจะจับก็จับให้หมด พื้นที่ทั้งหมดที่จะโค่นมี 2 ไร่ ในแต่ละเขตปกครองเราจะตัดไม่เกิน 4%"
-
ฟื้นทรัพยากรชายฝั่งทะเลไทย หยุด! ประมงแบบทำลายล้าง
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 29 พฤศจิกายน 2557 เวลา 10:52 น.เขียนโดยthaireform“ในรอบกว่า 50 ปีที่ผ่านมา กรมประมงเคยเก็บสถิติการทำประมงแบบ อวนลาก พบว่า ในอดีตการใช้อวนลาก 1 ชั่วโมงจะจับสัตว์น้ำได้กว่า 300 กิโลกรัม แต่ปัจจุบันนี้ ด้วยเวลาและเครื่องมือเท่ากัน สัตว์น้ำกลับเหลือให้จับเพียง 2 ถึง 7 กิโลกรัมเท่านั้น” นี่เป็นเสียงสะท้อนจาก วิโชคศักดิ์ รณรงค์ไพรี ผู้จัดการสมาคมสมาพันธ์ชาวประมงพื้นบ้านแห่งประเทศไทย ที่ชี้ให้เห็นถึงวิกฤตการทำประมงของไทยในปัจจุบัน