สัมภาษณ์ - ปาฐกถา
-
อธิบดีกรมศิลปากร กับคำชี้แจง "เซรามิกประดับพระปรางค์วัดอรุณฯ มีกว่า 3 แสนชิ้น"
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 16 สิงหาคม 2560 เวลา 18:25 น.เขียนโดยthaireform"พอเวลามีสีดำคนจะมองเห็นว่า เต็มไปหมดไม่เห็นพื้นพระปรางค์ ปัจจุบันเซรามิกไม่ได้น้อยลง เท่าเดิม หากเราทำให้น้อยลงลายเดิมจะหายไป นี่ลายไม่ได้หาย ที่เสื่อมสภาพจำเป็นต้องเซาะออก ใช้รูปแบบเดิมสีเดิม ทำใหม่ 40% หรือไม่น้อยกว่า 1.2 แสนชิ้น รวมลวดลายทั้งหมดที่ประดับพระปรางค์วัดอรุณฯ ประมาณ 3 แสนชิ้น"
-
ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์:ยุคโกลาหล “สื่อ” นายทุนกุมขมับ “อยู่รอด” ต้องผลิตซุปเปอร์คอนเทนต์
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 09 สิงหาคม 2560 เวลา 11:56 น.เขียนโดยThaireform“สื่อที่อยู่ได้ คือ ต้องมีคอนเทนต์ที่มีคุณภาพสูงมาก ๆ จึงจะอยู่รอดได้ เรียกว่า ต้องมีเฉพาะซุปเปอร์คอนเทนต์จริง ๆ”
-
เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง:ถึงเวลาปรับวิธีส่งเงินออม ‘กอช.’ แบบง่าย ไม่ซับซ้อน
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 03 สิงหาคม 2560 เวลา 08:44 น.เขียนโดยThaireform"เคยทดสอบ โดยให้ผู้ช่วยส่วนตัวลองไปสอบถามเจ้าหน้าที่ธนาคาร ปรากฎว่า เจ้าหน้าที่ธนาคารไม่ค่อยสนใจอธิบาย หรือเข้าใจรายละเอียด นอกเสียจากแจกแผ่นพับให้กลับมาศึกษา จึงไม่มั่นใจ ที่สุดแล้วเจ้าหน้าที่ไม่อยากอธิบาย หรือไม่เข้าใจสิ่งที่จะอธิบาย หรือขาดแรงจูงใจให้ทำหน้าที่เหมือนการขายประกัน"
-
คุยกับหลาน พล.ต.ท.โต๊ะ อินทามระ กับปฏิบัติการทวงคืนชื่อถนน
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 27 กรกฎาคม 2560 เวลา 07:42 น.เขียนโดยthaireform“เมื่อมีคนมารุกรานก่อน คิดมาเปลี่ยนชื่อซอยอินทามระทั้ง 59 ซอย หากไม่เปลี่ยนผมก็ไม่เรียกร้องถนนหรอก ถนนคุณจะเอาไป ก็เอาไป แต่ชื่อซอยนี่ หากผมไม่ออกมาต่อสู้ คงมีการเปลี่ยนไปนานแล้ว”
-
วิษณุ แจงขยายใช้ 4 มาตราในพ.ร.ก.แรงงานต่างด้าว ออกไป 6 เดือน
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 04 กรกฎาคม 2560 เวลา 16:40 น.เขียนโดยthaireform"คำสั่ง ม.44 ประกาศเจตนารมณ์หัวเด็ดตีนขาด ถึงอย่างไรก็มีนโยบายต่อต้านการค้ามนุษย์ ไม่ลดลาวาศอก ส่วนเศรษฐกิจภายในประเทศ เราก็ห่วงความสงบเรียบร้อยของสังคมในประเทศ การพัฒนาประเทศ ซึ่งรัฐบาลต้องการช่วย โดยเฉพาะมาตราที่ลงโทษรุนแรง ให้ 4 มาตราในพ.ร.ก.การบริหารจัดการของคนต่างด้าวฯ ยืดเวลาการใช้ออกไป 6 เดือน "
-
“ศ.ดร.สุรพล นิติไกรพจน์” ฉายภาพ 4 มายาคติอุดมศึกษาไทย
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 28 มิถุนายน 2560 เวลา 14:44 น.เขียนโดยThaireform“หลังรัฐประหาร ปี 2557 มีรองนายกรัฐมนตรีที่เป็นนายทหารท่านหนึ่ง เมื่อบริหารราชการไปสักพัก ท่านบอกว่า กระทรวงศึกษาธิการเป็นโครงสร้างที่แปลกประหลาดมาก เพราะสั่งใครไม่ได้เลย เป็นแท่ง! รัฐมนตรีสั่งปลัดกระทรวง แต่ปลัดกระทรวงสั่งมหาวิทยาลัยไม่ได้ สั่งอาชีวศึกษาไม่ได้ ปกครองไม่ได้เลย พร้อมกับถามว่า การบริหารงานแบบแท่งไปเอาตัวอย่างมาจากไหน ใครเป็นคนทำ”
-
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล:การเมืองไทย 2 ทางเลือก บทหางเครื่อง-ผนึกกำลังฝ่ายค้านสร้างสรรค์
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 19 มิถุนายน 2560 เวลา 13:27 น.เขียนโดยThaireform"...หลังรัฐประหาร ปี 2557 แทนที่รัฐบาลทหารจะรีบแก้ไขความขัดแย้งระหว่างมวลชนเสื้อสี กลับเดินหน้ากำหนดนโยบายต่าง ๆ ทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ทั้งนี้ เพื่อขับเคลื่อนและผลักดันให้ประเทศไทยเป็นไปตามวิสัยทัศน์ของตน การทำสิ่งต่าง ๆ ดังกล่าวไม่ใช่ลักษณะของรัฐบาลที่ขึ้นมารักษาการชั่วคราว หากเป็นลักษณะของผู้ปกครองที่มีชุดความคิดของตนเอง และประสงค์จะดัดแปลงโลกให้เป็นไปตามนั้น..."
-
“ข้อมูลตลาดไม่แม่นยำ – ไม่เชื่อมโยง” อุปสรรคพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารไทย
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 12 มิถุนายน 2560 เวลา 14:20 น.เขียนโดยธิปไตร แสละวงศ์ นักวิจัยอาวุโส ทีดีอาร์ไอปัญหาไม่มีข้อมูลที่แม่นยำมากพอและการไม่อาจเชื่อมต่อกันได้ระหว่างผู้ผลิตวัตถุดิบ และผู้แปรรูปอาหารและผู้ส่งออก ทำให้ธุรกิจการผลิตอาหารของไทยจึงยังคงต้องเผชิญกับปัญหาความเสี่ยงเรื่องสินค้าถูกตีกลับ หรือการห้ามนำเข้าสินค้าเกษตรที่ไม่ได้มาตรฐานเมื่อส่งออกไปต่างประเทศ
-
ส่องเมืองไทย ดุลยภาพทางการเมือง ดุลยภาพทางสังคม
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 09 มิถุนายน 2560 เวลา 18:16 น.เขียนโดยisranewsจากการทบทวนประวัติศาสตร์การเมืองไทย พบว่า การเมืองไทยไม่เป็นของทหารก็พลเรือน การเมืองยุคทหารเน้นความมั่นคง ความสงบเรียบร้อย บางช่วงสามารถทำอะไรได้มาก พอมาสู่การเมืองของนักการเมือง มีหลายกลุ่มหลายพวกการบริหารประเทศแม้รัฐบาลจะมีความมุ่งมั่นส่งเสริมให้อยู่ดีกินดี แต่กลไกไม่เอื้ออำนวย ทั้งๆที่เจตนาดีแต่ไม่เคยทำได้สำเร็จ
-
ฉลาดเกมส์โกง: หนังดี เพื่อสังคมที่ดี
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 04 มิถุนายน 2560 เวลา 12:27 น.เขียนโดยเดือนเด่น นิคมบริรักษ์การที่จะให้เยาวชนลุกขึ้นมาสนใจประเด็นเรื่องคอร์รัปชันนั้นไม่ใช่สิ่งที่ง่าย เด็กวัยรุ่นไม่ชอบการสั่งสอนแบบคุณพ่อรู้ดี โดยเฉพาะการใช้วิธีท่องจำคุณธรรม จริยธรรม 10 ประการ ฯลฯ ที่ระบบการศึกษาเรามักใช้ หากจะต้องสอดแทรกไว้ในกิจกรรมที่เยาวชนรู้สึก “สนุก” ไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์ บอร์ดเกมส์ หรือ เกมออนไลน์ หนังสือการ์ตูน ตลอดจนละครโทรทัศน์ ฯลฯ