การสร้างสำนึกร่วมของชุมชน
-
16 ปี จาก “ประเวียน” ถึง “ทองนาค” : อิทธิพลมืดปลิดชีพแกนนำชาวบ้าน
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 23 สิงหาคม 2554 เวลา 13:07 น.เขียนโดยธิดามนต์ พิมพาชัยจากปี 2538 ที่กระสุนปืนปลิดชีพ "ครูประเวียน" มีอีกหลายชีวิตนักต่อสู้ชาวบ้านที่ดับลงจากอิทธิพลมืด ล่าสุด 28 ก.ค.54 คือชีวิตของ "ทองนาค"… กว่า 2 ทศวรรษการต่อสู้เพื่อปกป้องสิทธิชุมชนในกรณีต่างๆ มีแกนนำชาวบ้านถูกสังหารไม่น้อยกว่า 28 ชีวิต … "…กู่เรื่องราวนี้ให้ก้องหล้า ครูประเวียนถูกฆ่า เพราะนำพาต้านโรงโม่หิน กฎหมู่เหนือกฎหมาย ลูกผู้ชาย ผู้หนึ่งดับดิ้น เลือดล้างเลือดไม่สิ้น พื้นแผ่นดินจะลุกเป็นไฟ ถึง ...
-
ขอเวทีคนปลายด้ามขวาน..เล่าบ้าง
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 09 พฤษภาคม 2554 เวลา 14:25 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีกว่า 7 ปีแล้วที่สังคมไทยรับรู้ผ่านสื่อมวลชนว่า พื้นที่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นสถานที่แห่งความรุนแรง มีเหตุระเบิดและฆ่ารายวันเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้ดินแดนปลายด้ามขวานกลายเป็น “พื้นที่ต้องห้าม” ไม่มีใครอยากย่างกราย ประเด็นนี้นำมาซึ่งความไม่สบายใจของคนในพื้นที่ค่อนข้างมาก เพราะการนำเสนอของ “สื่อ” ได้สร้างตราบาปให้คนนอกพื้นที่มองพวกเขาว่า “เป็นคนป่าเถื่อน” ทั้งที่ความจริงคนส่วนใหญ่ก็มีความเป ...
-
ตุ้มโฮม บุญผะเหวด บ้านศรีสำราญ ใช้ “ราก”ชุมชนลดความขัดแย้ง
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 30 มีนาคม 2554 เวลา 21:25 น.เขียนโดยทีม thaireformถึงจะออกตัวว่าไม่เชี่ยวชาญเรื่องข้อมูลที่มา แต่พอร้องให้ช่วยอธิบายพอเข้าใจ “ดิว” ลดาวัลย์ มั่นเรืองศรี โรงเรียนสามหมอวิทยา จ.ชัยภูมิ ก็เล่าถึง “บุญผะเหวด” ได้น่าฟังไม่แพ้ใคร อาจเป็นเพราะงานบุญมหาชาติรอบนี้ ที่บ้านนามน-บ้านสำราญ-บ้านนาฮี จ.ชัยภูมิ เมื่อกลางเดือนมีนาคมที่ผ่านมา มีความหมายกว่าทุกครั้งที่ผ่านมา “เป็นการกลับมาจัดงานใหญ่อีกครั้งหลังจากชุมชนของเราไม่ได้จัดไปช่วงหนึ่ง อีกทั้งพอมีงานครั้ง ...
-
ชีวิต เครือข่าย และสายน้ำ ตามไปดูกลุ่มคน 'อาสา' แห่งลุ่มน้ำตรัง
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 18 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 20:39 น.เขียนโดยณัฏฐพัชร์ ทัศนรุ่งเรืองปีนี้สถานการณ์ราคายางพาราพุ่งสูงมากเป็นประวัติการณ์ ...สูงกว่ากิโลกรัมละ 160 บาทแล้ว แน่นอนว่า ราคาที่ถีบตัวสูงขึ้นขนาดนี้ ความต้องการใช้พื้นที่ปลูก ก็คงต้องมากขึ้นตามเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะภาคใต้ ถึงขั้นมีการคาดกันว่า อีกไม่นานการบุกรุกทำลายป่าจะรุนแรงขึ้น ช่วงเดินทางมาเยือน ถิ่นกำเนิดยางพารา ล่องแพไม้ไผ่ที่คลองบางพระ ต.วังมะปราง อ.วังวิเศษ จ.ตรัง เพื่อชมการจัดการอนุรักษ์ต้นน้ำ ในโครงการ การจัดการ ...
-
อบต.ศรีสำราญ เพาะ"ปัญญา"ลบสี-ลดขัดแย้ง
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 23 มกราคม 2554 เวลา 19:23 น.เขียนโดยอรรถภูมิ อองกุลนะมากไปกว่าความสุขจากเรื่องสุขภาพและเศรษฐกิจ เชื่อว่า “ขอให้บ้านเมืองสงบ สังคมคลายความขัดแย้ง” น่าจะเป็นคำอธิษฐานลำดับต้นๆ สำหรับคนไทยในยามนี้
-
ได้เวลาปฏิรูปการจัดการภัยพิบัติ “เสียงสะท้อนจากชุมชนต้นทาง”
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 27 ธันวาคม 2553 เวลา 18:04 น.เขียนโดยอมราวดี อ่องลา,รตินันท์ เหล่าอารักษ์พิบูลวิกฤติน้ำท่วมหมาดๆ หรือ 6 ปีย้อนโศกนาฏกรรมสึนามิ กระทั่งน้ำท่วมซ้ำซาก ภัยแล้งจนชาชิน สังคมไทยได้บทเรียนอะไร ถึงเวลาแล้วหรือยังที่ต้องหาคำตอบให้กับระบบจัดการภัยพิบัติที่ดีพอจะรับ มือ ตั้งแต่การป้องกัน การเตือนภัย การช่วยเหลือบรรเทา และการฟื้นฟู ……………………………………………… วิกฤติที่แปรเป็นโอกาสของน้ำท่วมหนักชุมชนโคราช โคราชเป็นพื้นที่แรกๆที่ได้รับความเสียหายอย่างรุนแรงรวดเร็วไม่ทันตั้งตัวจากภัยน้ำท่วมที่ผ่า ...
-
ตามรอยเศรษฐกิจพอเีพียง "คนปิดทองหลังพระ"
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 23 ธันวาคม 2553 เวลา 14:40 น.เขียนโดยรตินันท์ เหล่าอารักษ์พิบูลใน วันนี้ เศรษฐกิจพอเพียง-พึ่งตนเอง เกษตรทฤษฎีใหม่ ไม่เป็นเพียงแต่ปรัชญาเท่านั้น แต่ยังสัมผัสได้จริงด้วยการปฏิบัติในหลายระดับหลากมิติ และความสำเร็จเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลย หากไม่มีแนวทางที่ในหลวงทรงพระราชทาน และไม่มีคนต้นแบบที่เดินตามรอยพ่อหลวงให้เห็นเป็นตัวอย่าง เมื่อเร็วๆนี้ รายการเปิดฟ้าวันใหม่ อสมท. Am 1143 KHz. นำโดยนายอุกฤษ กาลายี และคณะ เดินทางไปให้กำลังใจผู้ทำงานปิดทองหลังพระ ตามแนวพระ ...
-
ธรรมศาสตร์ทำนา…. จากแปลงนาสู่บ้านดิน ต่อยอดความเข้าใจหัวอก ‘กรรมกร’
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 19 พฤศจิกายน 2553 เวลา 13:06 น.เขียนโดยณัฐนันท์ อิทธิยาภรณ์แม้ว่า ปู่และย่าของ “นุ่น - ผกาพรรณ แป้นแหลม” นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีอาชีพทำนา และตัวเธอเองก็มีความใกล้ชิดกับวิถีชีวิตชาวนามาบ้างพอสมควร แต่สาวน้อยผู้นี้กลับไม่เคยมีโอกาสได้ลงไปเหยียบย่ำโคลน ปลูกข้าวกลางท้องทุ่งนาเลยสักครั้งเดียว จนกระทั่งก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย..ได้ร่วมกิจกรรมวันธรรมศาสตร์ทำนา ณ แปลงนา ภายในรั้วมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
-
เลียบ"ค่ายดอนมะจ่าง" ผนึกภูมิปัญญา "นศ.-ชาวบ้าน" เพิ่มตลาดผ้าทอมือ
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 12 พฤศจิกายน 2553 เวลา 16:05 น.เขียนโดยอรรถภูมิ อองกุลนะเมื่อคิดได้ว่าห้องเรียนไม่ใช่คำตอบของทุกสิ่ง ช่วงปิดเทอมเล็กตุลาคมที่เพิ่งผ่านไปจึงเร็วไวปานกามนิตหนุ่ม ถึงเช่นนั้นวันคืนที่หมดกับชีวิตนอกตำราก็หาได้ถูกทิ้งขวางอย่างไร้ประโยชน์ อย่างน้อยที่สุด แหวง-นิวัฒน์ อินแสงแวง นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม ก็นิยามตุลาคมที่เพิ่งผ่านไปหมาดๆนี้ว่า เวลาแห่งการเก็บเกี่ยว-บ่มเพาะประสบการณ์ครั้งใหม่ ย้อนไปเมื่อไม่กี่เดือนก่อนหน้า ท่ามกลางบรรยากาศกิจก ...
-
"ไล่รื้อที่"ชุมชน ตีแผ่ความเจ็บช้ำรัฐรังแกประชาชนด้วยคำว่า"พัฒนา"
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 02 พฤศจิกายน 2553 เวลา 23:11 น.เขียนโดยเจนศักดิ์ แซ่อึ้งทุกวันนี้เราอาจจะไม่ค่อยตื่นเต้นเท่าไรนักกับปัญหาการไล่รื้อที่ดิน เพราะเราอาจจะเห็นประชาชนที่ลุกขึ้นมาต่อสู้เพื่อที่อยู่อาศัยในรูปแบบของ “ม็อบ” เสียจนชินตา วัตถุประสงค์ของการไล่รื้อนั้นมีหลากหลายบนความแตกต่างของแต่ละที่พื้นที่ ซึ่งระยะเวลาที่ผ่านมามีทั้งชุมชนที่ลุกขึ้นต่อสู้ต่อกับการกระทำที่ไม่เป็นธรรมของภาครัฐ บ้างก็ก้มลงยอมแพ้แต่โดยดี เพราะไร้ซึ่งทางออก และขาดพลังมวลชนในการต่อสู้ ประเด็นสำคัญปร ...