- Home
- Thaireform
- สัมภาษณ์ - ปาฐกถา
- เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
-
สมชาย รัตนซื่อสกุล: ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีสิทธิร้องศาลให้เพิกถอนสิทธิบัตรกัญชาได้
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 29 พฤศจิกายน 2561 เวลา 13:27 น.เขียนโดยThaireform"...ในบางกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้สิ่งประดิษฐ์นั้น อาจมีปัญหา ไม่พอ ราคาแพง หรือเกิดเหตุฉุกเฉิน จำเป็นต้องใช้เดี๋ยวนี้ แต่กลับติดปัญหาที่ว่ามีใครบางคนถือสิทธิบัตรในสิ่งเหล่านี้อยู่ กลไกเรื่องของการบังคับใช้สิทธิในสิทธิบัตรได้เปิดช่องให้ภาครัฐบังคับได้เลย เพียงบอกว่า จะขอนำสิ่งประดิษฐ์มาใช้ แล้วเจรจาให้ค่าตอบแทน แม้เจ้าของสิทธิบัตรจะไม่อนุญาต รัฐไม่สนใจ เพราะสามารถบังคับใช้สิทธิดังกล่าวได้..."
-
ก่อนเข้า สนช. วาระ 2-3 'สกนธ์ วรัญญูวัฒนา'วิพากษ์ กม.ภาษีที่ดินคนรวยได้ประโยชน์
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 12 พฤศจิกายน 2561 เวลา 14:11 น.เขียนโดยthaireformหากผ่านร่าง พ.ร.บ.ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างฯ ออกมา ก็จะเหมือนกับพ.ร.บ.ภาษีการรับมรดก ที่แทบไม่ต้องมีใครมาจ่ายภาษีเลย ความเป็นภาษีที่ดีแทบจะหมดความหมาย -ไม่มีประโยชน์
-
"วิษณุ เครืองาม" เหลียวหลังมองการพัฒนาประเทศไทยที่ผ่านมาก้าวสะเปะสะปะ
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 05 พฤศจิกายน 2561 เวลา 22:05 น.เขียนโดยthaireformเวลาที่ผ่านมาแม้ไทยจะก้าวเดินมาโดยตลอด แต่วันนี้ไม่ได้แล้ว เพราะกระแสโลกเปลี่ยนแปลงไป ประเทศไทยจำเป็นต้องก้าวเดินอย่างมีเป้าหมายชัดเจน ไม่เดินสะเปะสะปะ
-
One Belt One Road เส้นทางสายไหมใหม่ของจีนกับประเทศลุ่มแม่น้ำโขง
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 26 ตุลาคม 2561 เวลา 08:01 น.เขียนโดยthaireformการขับเคลื่อน One Belt, One Road ต้องอาศัยวิสัยทัศน์ของผู้นำ ที่จะตระหนักถึงประโยชน์ของการพึ่งพาซึ่งกันและกันของประเทศต่างๆ ในโลก การขับเคลื่อนโครงการต่างๆ อย่างโปร่งใส เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ เข้ามามีส่วนร่วม เน้นการแบ่งปันผลประโยชน์ การมองข้ามปัจจัยเหล่านี้อาจทำให้เราอาจไม่สามารถนำเอาประโยชน์จาก One Belt, One Road มาใช้ได้อย่างที่ตั้งใจ
-
คุยกับรอง ปธ.สภาคณบดีสาธารณสุขฯ ค้านแก้ กม. ‘จป.วิชาชีพ’ เปิดทางจบอะไรมาก็ทำได้
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 21 กันยายน 2561 เวลา 17:00 น.เขียนโดยThaireform“ลองนึกภาพ จบปริญญาตรีสาขาใดก็ได้ เช่น คหกรรม นาฏศิลป์ แม้จะผ่านการอบรม แต่มหาวิทยาลัยมองว่า ไม่ใช่ผู้ที่จะทำหน้าที่ดูแลสุขภาพของคนทำงานได้ ยกเว้น หากว่าผลิตบัณฑิตไม่พอ นั่นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง แต่ที่ผ่านมายืนยันผลิตบัณฑิตเพียงพอ ดังนั้นมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จึงทำหนังสือคัดค้าน”
-
สัมปทานดิวตี้ฟรีกับเงินแสนล้าน
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 20 กันยายน 2561 เวลา 13:58 น.เขียนโดยเดือนเด่น นิคมบริรักษ์"...หันมามองประเทศไทยแล้วเหมือนหน้ามือกับหลังมือ ธุรกิจร้านค้าปลอดภาษีในประเทศไทยไม่ว่าจะในสนามบินหรือในเมืองเป็นของผู้ประกอบการรายเดียวทั่วประเทศ ทำให้ตลาดสินค้าปลอดภาษีเป็นตลาดที่ผูกขาดอย่างสมบูรณ์ จึงไม่น่าแปลกใจว่าทำไมรายได้จากการจำหน่ายสินค้าปลอดภาษีเราจึงน้อยนัก แต่ข่าวดีก็คือ สัมปทานร้านค้าปลอดภาษีในสนามบินสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานภูมิภาคอีก 3 แห่งจะหมดอายุลงในอีก 2 ปีข้างหน้า ผู้เขียนเห็น ...
-
คุยกับ ‘แล ดิลกวิทยรัตน์’ ในวันที่มหาวิทยาลัยเอกชนทยอยปิด ‘คณะเศรษฐศาสตร์’
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 17 สิงหาคม 2561 เวลา 13:52 น.เขียนโดยThaireform“มหาวิทยาลัยเอกชนไม่ได้เน้นตลาดเดียวกับมหาวิทยาลัยของรัฐ ที่มุ่งผลิตคนป้อนให้กับกระทรวงการคลัง สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ หรือสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ซึ่งล้วนแต่เป็นกลไกในการบริหารประเทศ แต่มหาวิทยาลัยเอกชนผลิตคนเพื่อป้อนให้กับเอกชนด้วยกัน..."
-
แก้ขยะพิษ “โละ” ธุรกิจกำจัดผิด กม.- ส่งเสริมขจัดยั่งยืน
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 23 กรกฎาคม 2561 เวลา 13:13 น.เขียนโดยน.ส.กะรัตลักษณ์ เหลี่ยมเพชร นักวิจัย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยเรื่องขยะ เรื่องใหญ่ รู้หรือไม่คนไทยผลิตขยะพิษเพิ่มขึ้นอย่างน่าห่วง กำจัดได้ไม่ถึงครึ่ง ขยะพิษอันตรายต้องกำจัดอย่างพิเศษ แต่โรงงานกำจัดถูกกฎหมายได้มาตรฐานยังมีน้อย แถมยังมีธุรกิจสีเทาลักลอบทิ้งหรือกำจัดโดยไม่ถูกต้อง ทีดีอาร์ไอแนะควรเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการที่มีความรู้และเทคโนโลยีสูงเข้ามาลงทุนในธุรกิจกำจัดขยะมากขึ้น ควบคู่กับปรับปรุงกระบวนการจัดการขยะและเพิ่มการกำกับดูแลให้เข้มข้น เพื่อ “โละ” ธุร ...
-
ความโปร่งใส ต้องมาก่อน คุยกับ ‘จิราพร ขาวสวัสดิ์’ กับเหตุผล-ความจำเป็นปรับโครงสร้างปตท.
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 24 พฤษภาคม 2561 เวลา 14:51 น.เขียนโดยisranews“การปรับโครงการ ปตท. ถือเป็นครั้งแรก ที่เอา ‘ยวง’ ปตท.ออกนอกปตท.ตั้งแต่มีการแปรรูปมา แต่ก่อนปตท.ขยายด้วยวิธีไปซื้อ ไปควบรวม หรือไม่ตั้งบริษัทใหม่ ครั้งนี้เป็นการปรับโครงสร้าง ปรับธุรกิจ เอา ‘ยวง’ สำคัญของปตท. ออก เพราะเป็นธุรกิจที่มีการแข่งขันเสรีแล้ว”
-
หาบเร่แผงลอย: วิถีชีวิตที่รัฐมองข้าม
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 28 เมษายน 2561 เวลา 16:43 น.เขียนโดยชาคร เลิศนิทัศน์ และ สมชัย จิตสุชน ทีดีอาร์ไอการแก้ปัญหาความไม่เป็นระเบียบบนทางเท้าที่เกิดขึ้นในสังคมไทยสามารถทำได้อย่างร่วมด้วยช่วยกัน ไม่ควรหักด้ามพร้าด้วยเข่าจนไปเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของผู้ด้อยโอกาสในสังคมซึ่งอีกด้านหนึ่งก็เป็นเสน่ห์ของกรุงเทพมหานครเช่นกัน