-
“องค์กรประชาชนตรวจสอบท้องถิ่น” สูตรรักษาสารพัดปัญหาชุมชนไทย
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 08 มีนาคม 2555 เวลา 17:31 น.เขียนโดยสำนักรณรงค์สื่อสารสังคม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้มีประชากรราว 9.7 ล้านคน การให้บริการสาธารณะเป็นไปอย่างทั่วถึงแต่ก็ยังมีข้อผิดพลาด คนกรุงโซลจึงรวมตัวตั้งองค์กรภาคประชาชนตรวจตราการให้บริการสาธารณะของภาครัฐ
-
คนท้องถิ่นเมินแผนน้ำท่วมรัฐ ผนึกกำลังรับมือวิกฤตใหม่
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 07 มีนาคม 2555 เวลา 16:46 น.เขียนโดยกสานต์ คำสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรานับวันปัญหาภัยพิบัติยิ่งรุนแรงมากขึ้น ขณะที่ภาครัฐยังคงนั่งประชุม ขีดเส้นบนแผนที่กำหนดพื้นที่รับน้ำฯ แต่คนท้องถิ่นมิอาจรั้งรอ สรุปบทเรียนจากบาดแผลปีที่ผ่านมา สร้างเครือข่ายทำแผนด้วยตัวเองพร้อมรับทุกสถานการณ์ร้ายแรง ติดตามจากรายงาน
-
“รังสรรค์พื้นที่สร้างสรรค์ในท้องถิ่น” เพื่อเยาวชนไทยเติบโตก้าวไกล
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 06 มีนาคม 2555 เวลา 16:25 น.เขียนโดยสำนักรณรงค์สื่อสารสังคม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ“พื้นที่สร้างสรรค์ พื้นที่สุขภาวะ พื้นที่น่าอยู่ คือการสร้างพื้นที่ที่ทำให้คนใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันของชุมชน เป็นพื้นที่สำหรับคนทุกเพศวัยทุกกลุ่ม สามารถสร้างความรู้สึกร่วมและความผูกพันของชุมชน”
-
“รร.วัดท่าสะท้อน” บทพิสูจน์ความสุขจากการศึกษาทางเลือกในโรงเรียนเล็ก
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 19:02 น.เขียนโดยนิภาภรณ์ แสงสว่างปี 2547 โรงเรียนวัดท่าสะท้อน ต.ชะอวด อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช โรงเรียนเล็กๆในวิถีอันเงียบสงบของชุมชนป่าพรุควนเคร็ง ถูกปิดลง ด้วยเหตุผลว่าจำนวนนักเรียนลดลง ไม่คุ้มทุนกับการบริหารจัดการ
-
“อารันดร์ อาชาพิลาส” จาก BE แมกกาซีน-สู่ “หลอดไฟขวดน้ำเพื่อชุมชน”
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 16:52 น.เขียนโดยกสานต์ คำสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศราแดดยามสายแถวๆชุมชนหัวโค้งยมราช เป็นที่รวมพลคนหนุ่มสาวไฟแรงกลุ่มเล็กๆที่กำลังทำกิจกรรมจิตอาสาเพื่อชุมชนจากไอเดียบรรเจิด “หลอดไฟขวดน้ำพลาสติก” นำโดย “อารันดร์ อาชาพิลาส”
-
"เกษตรอินทรีย์" ทางเลือกทางรอดที่ยั่งยืนของเกษตรกรไทย"
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 17:40 น.เขียนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)“เมื่อตอนเป็นเด็ก ผมเกิดคำถามกับตัวเองมาตลอดเวลาว่าทำไมผมถึงจน บ้านผมทำไร่ทำนากันทั้งครอบครัวเราทำงานหนักกันทั้งครอบครัว แต่ทำไมครอบครัวเราถึงหนีความจนไม่พ้น”