หลากมิติ
-
โรงเรียนทางเลือกกับทางเลือกในการศึกษาของประชาชน
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 16:14 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีเอกสารประกอบ งานสัมมนาประจำปี 2554 ยกเครื่องการศึกษาไทย : สู่การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง เรื่อง โรงเรียนทางเลือกกับทางเลือกในการศึกษาของประชาชน โดย ปกป้อง จันวิทย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สุนทร ตันมันทอง สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ดาวน์โหลด
-
ระบบการบริหารและการเงินเพื่อสร้างความรับผิดชอบในการจัดการศึกษา
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 14:33 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีเอกสารประกอบ งานสัมมนาประจำปี 2554 ยกเครื่องการศึกษาไทย : สู่การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง เรื่อง ระบบการบริหารและการเงินเพื่อสร้างความรับผิดชอบในการจัดการศึกษา โดย สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ศุภณัฏฐ์ ศศิวุฒิวัฒน์ แบ๊งค์ งามอรุณโชติ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ดาวน์โหลด
-
ความเชื่อมโยงระหว่างสถานศึกษากับตลาดแรงงาน : คุณภาพผู้สำเร็จการศึกาาและการขาดแคลนแรงงานที่มีคุณภาพ
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 14:20 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีเอกสารประกอบ งานสัมมนาประจำปี 2554 ยกเครื่องการศึกษาไทย : สู่การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง เรื่อง ความเชื่อมโยงระหว่างสถานศึกษากับตลาดแรงงาน : คุณภาพผู้สำเร็จการศึกาาและการขาดแคลนแรงงานที่มีคุณภาพ โดย นิพนธ์ พัวพงศกร ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ ดิลกะ ลัทธิพิพัฒน์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ดาวน์โหลด
-
การปฏิรูปการศึกษารอบใหม่ สู่การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 10:44 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีเอกสารประกอบ งานสัมมนาประจำปี 2554 ยกเครื่องการศึกษาไทย : สู่การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง ดาวน์โหลด การปฏิรูปการศึกษารอบใหม่ สู่การศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึง โดย อัมมาร สยามวาลา และดิลกะ ลัทธพิพัฒน์ และสมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์
-
นายกฯ แถลงข่าวผลการติดตามการแก้ไขปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ต้นน้ำ
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 11:18 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีวันนี้ (14.ก.พ. 55) เวลา 08.30 น. ณ โรงแรมอัมรินทร์ ลากูน จังหวัดพิษณุโลก นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้แถลงข่าวผลการติดตามการแก้ไขปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ต้นน้ำ ว่า การแก้ไขปัญหาอุทกภัยและการบริหารจัดการน้ำตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ (1) เพื่อติดตามงานแก้ไขปัญหาตามแผนงาน/โครงการที่ได้รับอนุมัติงบประมาณฟื้นฟู เยียวยา และงบประมาณตามแผนแม่บทการบริหารจัดการน้ำ (2) ...
-
ผลประชุมเตรียมความพร้อมติดตามการแก้ไขอุทกภัยในพื้นที่ต้นน้ำ 10 จังหวัด
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 21:05 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีวันนี้ (13 ก.พ.55) เวลา 09.00 น. ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยืน (กยน.) ร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัด 10 จังหวัด ที่เป็นพื้นที่ต้นน้ำ (เชียงใหม่ เชียงราย สุโขทัย อุตรดิตถ์ ตาก น่าน แพร่ ลำปาง ลำพูน พะเยา) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) สำนักงบประมาณ และสำนักงาน ก.พ.ร. ได้จัดทำ work shop ประชุมหลักการบริหารจัดการน้ำในแต่ละกลุ่มจัง ...
-
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ พ.ศ 2555
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 17:33 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ พ.ศ 2555 ดาวน์โหลด
-
ความคืบหน้า สร้างเขื่อนกั้นน้ำ ใน 7 นิคมอุตสาหกรรม
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 16:24 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีหนังสือกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การให้ความช่วยเหลือภาคอุตสาหกรรมที่ประสบอุทกภัย โดย กระทรวงอุตสาหกรรม ดาวน์โหลด
-
วิศวกรรมสถานฯ เปิดแผนป้องน้ำเร่งด่วน
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 14:38 น.เขียนโดยพิชานัน อินโปธาข้อเสนอหลักการสำคัญในการจัดการน้ำประเทศไทย การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำประเทศไทยอย่างเป็นระบบและบูรณาการเพื่อแก้ไขปัญหาอุทกภัยพร้อมทั้งภัยแล้ง สามารถกระทำได้ด้วยความรู้เชิงวิศวกรรมทั้งภาคทฤษฎีและประสบการณ์ ภายใต้งบประมาณ และกรอบเวลาที่เหมาะสม อีกทั้งคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชน และผลกระทบสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ กลุ่มนักวิชาการร่วมกับภาคประชาชน ขอเสนอมาตรการเพื่อการจัดการภัยพิบัติน้ำอย่างยั่งยืนของป ...
-
บทความ...ปฎิรูปการศึกษาไทยต้องกระจายคุณภาพอย่างทั่วถึง โดย ดร.ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 11:57 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีปฎิรูปการศึกษาไทยต้องกระจายคุณภาพอย่างทั่วถึง โดย ดร.ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย งานวิจัยเรื่องการศึกษาของประเทศไทยในระยะหลังเริ่มเล็งเห็นมูลเหตุของความเหลื่อมล้ำที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในการเข้าถึงอุดมศึกษา โดยเฉพาะในระดับปริญญาตรี ว่าไม่ได้เกิดขึ้นจากการขาดแคลนปัจจัยระยะสั้น เช่นการขาดแคลนเงินทุน เพียงอย่างเดียว แต่ต้นเหตุสำคัญเกิดจากความเหลื่อมล้ำทางปัจจัยระยะยาวที่รวมถึงคุ ...