หลากมิติ
-
คำประกาศเจตนารมณ์ เครือข่ายประชาชน 40 องค์กรต่อการเลือกตั้ง 2554
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 24 มิถุนายน 2554 เวลา 21:22 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีคำประกาศเจตนารมณ์ เครือข่ายประชาชน 40 องค์กรต่อการเลือกตั้ง 2554 พวกเราในนามเครือข่ายประชาชน 40 องค์กร ซึ่งได้ร่วมกันจัดโครงการรณรงค์เลือกตั้ง 2554 “เวทีสัญญาประชาคมพบพรรคการเมือง” เพื่อนำเสนอปัญหาข้อเรียกร้องของประชาชนต่อพรรคการเมืองตามวิถีของระบอบประชาธิปไตย เพื่อตรวจสอบว่านโยบายของพรรคการเมืองเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาปากท้องของประชาชน หรือไม่ อย่างไร และรณรงค์ข้อเสนอเกี่ยวกับการปฏิรูปประเทศให้พรร ...
-
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความก้าวหน้าของประเทศ พ.ศ. 2554 เพื่อกำหนดนิยาม “ความก้าวหน้าของสังคมไทย” โดย วิบูลย์ทัต สุทันธนกิตติ์
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 23 มิถุนายน 2554 เวลา 16:12 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความก้าวหน้าของประเทศ พ.ศ. 2554 เพื่อกำหนดนิยาม “ความก้าวหน้าของสังคมไทย” โดย วิบูลย์ทัต สุทันธนกิตติ์ ผู้อำนวยการสำนักงานสถิติแห่งชาติ เอกสารประกอบการแถลงข่าวผลการสำรวจสาธารณมติ “การกำหนดนิยามความก้าวหน้าของสังคมไทย” วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน 2554 ณ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ สวนรถไฟ กรุงเทพมหานคร ดาวน์โหลด
-
บูรพาภิวัฒน์ : ภูมิ-รัฐศาสตร์และเศรษฐกิจโลกใหม่ โดย เอนก เหล่าธรรมรัตน์
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 22 มิถุนายน 2554 เวลา 16:38 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีบูรพาภิวัฒน์ : ภูมิ-รัฐศาสตร์และเศรษฐกิจโลกใหม่ ยุทธศาสตร์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัฒน์ โดย เอนก เหล่าธรรมรัตน์ เสนอต่อ แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี (นสธ.) 14 มิถุนายน 2554 ดาวน์โหลด
-
ข้อเรียกร้องนโยบายแรงงานยื่นพรรคการเมือง โดย คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 21 มิถุนายน 2554 เวลา 21:02 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีข้อเรียกร้องนโยบายแรงงานยื่นพรรคการเมือง โดย คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย 1.ดำเนินการให้สัตยาบันอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization-ILO) ที่ 87 และ 98 เพื่อสร้างหลักประกันในสิทธิเสรีภาพการรวมตัวและเจรจาต่อรองโดยทันที 2.ปฏิรูปพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 ให้สอดคล้องกับอนุสัญญา ILO ฉบับที่ 87 และ 98 เพื่อให้เกิดการคุ้มครองแรงงานทุกภาคส่วน 3.สนับสนุนการปฏิร ...
-
เช็คอุณหภูมิและทางรอดข้าวไทย…ไปต่อทางไหนดี?
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 18 มิถุนายน 2554 เวลา 17:34 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีบทความ เรื่อง เช็คอุณหภูมิและทางรอดข้าวไทย…ไปต่อทางไหนดี? โดย วิชชุดา ชุ่มมี EIC (Economic Intelligence Center) ดาวน์โหลด
-
สถานการณ์ความเสี่ยงและการเจ็บป่วยจากสารกำจัดศัตรูพืช
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 17 มิถุนายน 2554 เวลา 14:44 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีเอกสาร เรื่อง สถานการณ์ความเสี่ยงและการเจ็บป่วยจากสารกำจัดศัตรูพืช ประกอบการประชุมวิชาการเพื่อเฝ้าระวังสารเคมีทางการเกษตร ณ ห้องแกรนด์บอลล์รูม โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค กรุงเทพฯ ดาวน์โหลด
-
การขยายพื้นที่เพาะปลูกยางพารา ความห่วงใยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย โดย รศ.ดร.สมบูรณ์ เจิรญจิระตระกูล
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 09 มิถุนายน 2554 เวลา 15:02 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีรายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ การขยายพื้นที่เพาะปลูกยางพารา ความห่วงใยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย โดย รศ. ดร. สมบูรณ์ เจริญจิระตระกูล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิยาลัยสงขลานครินทร์หาดใหญ่ ดาวน์โหลด
-
บทวิเคราะห์ มาตรา 112 ป.อาญาของศาสตราจารย์ กม.มหาชน อังกฤษ "ผ่านสายตา"บัวแก้ว”
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 02 มิถุนายน 2554 เวลา 16:15 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีหมายเหตุ-รายงานนี้ เป็นการบรรยายของนาย ปีเตอร์ เลย์แลนด์(Peter Leyland)ศาสตราจารย์ด้านกฎหมายมหาชนของมหาวิทยาลัย London Metropolitan University ในหัวข้อ"การต่อสู้เพื่อเสรีภาพในการแสดงออกในประเทศไทย:เจ้าพ่อสื่อ,พระมหากษัตริย์,สิทธิพลเมืองและกฎหมาย "(The Struggle for Freedom of Expression in Thailand: Media Moguls, the King, Citizen Rights and the Law) ณ School of Oriental and African Studies (SOAS) ...
-
กฎหมายกับการพัฒนา โดยนายมีชัย ฤชุพันธุ์ อดีตประธานสภานิติบัญญัติ
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 02 มิถุนายน 2554 เวลา 15:43 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีเอกสารประกอบการเสวนาทางวิชาการในโอกาสครบรอบ ๒๕ ปี ศูนย์วิจัยกฎหมายและการพัฒนา คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง "ทิศทางการพัฒนากฎหมายเพื่อการพัฒนาประเทศ" หัวข้อ กฎหมายกับการพัฒนา โดยนายมีชัย ฤชุพันธุ์ อดีตประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๔๙ ดาวน์โหลด
-
ความเสี่ยงของผู้ประกันตน โดย..ดร.วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 31 พฤษภาคม 2554 เวลา 13:56 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีระบบประกันสังคมในประเทศต่างๆ ถือกำเนิดมาเพื่อจัดการความเสี่ยงให้กับลูกจ้างหรือผู้มีงานทำทั้งหลาย ความเสี่ยงที่ว่านี้ประกอบด้วย ความเสี่ยงจากการบาดเจ็บ เจ็บป่วย ทุพพลภาพ มีบุตร เป็นหม้าย ว่างงาน ชราภาพ และการสูญเสียชีวิต แต่ละประเทศก็มีความแตกต่างกันในเรื่องของความครอบคลุมของความเสี่ยง วิธีการหาเงิน จ่ายเงิน และบริหารจัดการ ระบบประกันสังคมของไทยก็เช่นเดียวกัน ถือกำเนิดมาเพื่อช่วยลูกจ้างจัดการกับคว ...