ปัญหาปลอมวุฒิการศึกษาและใช้วุฒิการศึกษาปลอมของนักการเมืองระดับชาติ เจ้าของฟาร์มเลี้ยงลิง วันนี้เริ่มเงียบไปแล้ว โดยที่ยังไม่มีการตรวจสอบหรือเอาผิดอะไรได้ชัดเจนนัก แต่ปัญหาปลอมวุฒิการศึกษา ต้องบอกว่ามีทุกระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ จนถึงรากหญ้า
สถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังคงมีเหตุรุนแรงเกิดขึ้นบ้างประปราย ส่วนใหญ่เป็นเหตุลอบยิงบุคคลซึ่งยังไม่ชัดว่ามีมูลเหตุเกี่ยวกับความมั่นคง หรือเป็นความขัดแย้งส่วนตัว
พ่อค้าแม่ค้าชาวไทยที่ข้ามไปค้าขายฝั่งมาเลเซีย บริเวณพรมแดนด่านปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ถูกทางการมาเลย์จับกุมถึง 33 คน ในข้อหาไม่มีใบอนุญาตทำงาน หรือ "เวิร์ค เพอร์มิต"
คณะกรรมาธิการต่อต้านการคอร์รัปชั่นมาเลเซีย หรือ MACC เปิดคลิปแฉการลักลอบขนสินค้าเถื่อนข้ามพรมแดนไทย-มาเลเซีย ด้านรัฐปะลิส ตรงข้ามกับด่านปาดังเบซาร์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ขณะที่ฝ่ายไทยผวาโยงปัญหาความมั่นคง
คู่อภิปรายที่ตอบโต้กันด้วยข้อมูลมากที่สุดในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2563 วันแรก (17 ต.ค.62) คือ "ทนายแวยูแฮ" กับ "นายกฯลุงตู่" ในประเด็นงบดับไฟใต้
และแล้วก็ถึงวันประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) งบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 ยอดรวม 3.2 ล้านล้านบาท ซึ่งฝ่ายค้านขายวาทกรรมโจมตีล่วงหน้า รัฐบาลให้น้ำหนักงบความมั่นคงมากกว่างบพัฒนา หรืองบกระตุ้นเศรษฐกิจ
วาทกรรม "งบความมั่นคงสูงกว่างบกระตุ้นเศรษฐกิจ" กลายเป็น "ธีมหลัก" ที่ฝ่ายค้านใช้ถล่มร่าง พ.ร.บ.งบประมาณปี 63 ของรัฐบาล
ผู้พิพากษาหัวหน้าคณะชั้นต้นในศาลจังหวัดยะลา ซึ่งก่อเหตุใช้อาวุธปืนยิงตัวเองในห้องพิจารณาคดี เมื่อวันที่ 4 ต.ค.62 ได้เดินทางออกจากโรงพยาบาลศูนย์ยะลา เพื่อไปพักฟื้นต่อที่บ้านแล้ว ขณะที่ในพื้นที่ชายแดนใต้ยังคงมีเจ้าหน้าที่ยิงตัวตายอย่างต่อเนื่องอีกหลายกรณี
เหตุการณ์คนร้ายขี่รถจักรยานยนต์ตามประกบยิงลุงกับป้าเสียชีวิตคาถนนในอำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 15 มิ.ย.62 ที่ผ่านมา มีความคืบหน้าสำคัญที่นำไปสู่การจับกุมคนร้ายบางส่วนได้ แต่กลับมีการสร้างข่าวโจมตีในโลกออนไลน์ จนฝ่ายความมั่นคงต้องเปิดเวทีชี้แจงถึงที่มัสยิดในหมู่บ้าน
ต้นปี 2561 เริ่มมีคนรีวิวแหล่งท่องเที่ยวแบบอันซีนที่ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา สร้างกระแสฮือฮาในสื่อสังคมออนไลน์ไปไกลถึงมาเลเซีย